กัญชามีประโยชน์อย่างไร

กัญชา กระทรวงสาธารณสุข เพิ่งปลดล็อก “ใบกัญชา-กัญชง” พ้นจากบัญชียาเสพติด โดยเหตุผลที่ได้รับการปลดล็อก เนื่องจากว่าสรรพคุณของกัญชาให้ประโยชน์อย่างมากมาย และในอนาคตจะทำให้เกิดการเอื้อประโยชน์ในทางการแพทย์นำไปศึกษาถึงสรรพคุณของกัญชาและกระท่อมในการรักษาอาการเจ็บป่วย และเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วยให้ดีขึ้นต่อไป  

กัญชา “กัญชา” มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Cannabis sativa เป็นพืชล้มลุก มีใบเป็นแฉก 5-8 แฉก ลำต้นสูง 3-5 เมตร กัญชามีสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทหรือ สาร THC (Tetrahydrocannabinol) มีฤทธิ์ทำให้ติดและเมา และ CBD (Cannabidiol) 

สารต้านฤทธิ์เมา ไม่มีผลต่อจิตประสาท ช่วยลดผลข้างเคียงจากจิตและประสาทจาก THC มีฤทธิ์ช่วยลดการอักเสบ ลดการชักเกร็ง ช่วยให้สงบ ผ่อนคลาย และมีคุณสมบัติยังยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เนื้องอกหลายชนิดในหลอดทดลอง

สำหรับประโยชน์ของกัญชานั้น มีงานวิจัยหลายแห่งรายงานผลว่า สารสกัดจากกัญชามีสรรพคุณรักษาอาการของโรคต่างๆ ดังนี้ 

รักษาภาวะเบื่ออาหาร กัญชาใช้เป็นสารกระตุ้นความอยากอาหาร จะช่วยชะลอน้ำหนักลดในผู้ป่วยมะเร็ง  

การป้องกันการคลื่นไส้ อาเจียน ในผู้ป่วยที่รับเคมีบำบัด  

รักษาโรคลมชักที่รักษายากและโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง 

รักษาภาวะปวดประสาทส่วนกลาง ที่ใช้วิธีการรักษาอื่นๆ แล้วไม่ได้ผล

บรรเทาหอบหืด ยาแก้หอบหืดทุกตัวมีข้อเสียคือมีข้อจำกัด ทั้งประสิทธิภาพและผลข้างเคียง เนื่องจากกัญชาขยายหลอดลมและลดการหดตัวของหลอดลม

เห็นได้ว่ากัญชานั้นมีประโยชน์เยอะมากๆ อยู่ที่วิธีการนำมาใช้ เเต่ถ้านำมาใช้ผิดวิธีก็มีผลเสียได้เช่นกัน

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

ความรวยไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

ใบกระท่อมประโยชน์และโทษของ

ใบกระท่อม ได้รับการปลดล็อกออกจากบัญชียาเสพติด ประเภทที่ 5 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2565 เป็นต้นไป นำไปสู่ขั้นตอนการร่าง พ.ร.บ.พืชกระท่อม เพื่อควบคุมรายละเอียดการปลูกและการจำหน่าย จึงทำให้หลายคนเริ่มสนใจประโยชน์ของ “ใบกระท่อม” ซึ่งแต่เดิมเป็นพืชสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีสรรพคุณทางยาช่วยบรรเทาอาการต่างๆ ได้

ใบกระท่อม (ภาษาอังกฤษ Kratom, ชื่อวิทยาศาสตร์ Mitragyna speciosa) เป็นไม้ยืนต้นที่นิยมเพาะปลูกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีหลายสายพันธุ์ ในประเทศไทยพบมากในพื้นที่ภาคกลาง และพื้นที่ป่าธรรมชาติของภาคใต้ เช่น จังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง สตูล พัทลุง สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส   ส่วนใบของพืชกระท่อม หรือใบกระท่อม ถูกใช้เป็นยาสมุนไพรในท้องถิ่นมายาวนาน แต่เดิมชาวบ้านนิยมเคี้ยวใบสด หรือนำไปตำน้ำพริก

เพื่อช่วยให้รู้สึกมีเรี่ยวแรงเมื่อต้องออกไปทำไร่นา เนื่องจากพืชกระท่อมจะออกฤทธิ์คล้ายกับแอมเฟตามีน กระตุ้นประสาทให้ทำงานได้มากขึ้น   จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2522 กระท่อมถูกจัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 ชนิดเดียวกับกัญชา ตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ มาตรา 7 ก่อนจะถูกปลดล็อกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2564   

ใบกระท่อมถือเป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านในการนำพืชมาใช้รักษาอาการต่างๆ ในสมัยที่คนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการรักษาทางการแพทย์ได้ โดยในปัจจุบันมีการวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของพืชกระท่อม ที่สามารถนำมาสกัดใช้ในทางสุขภาพได้

ประโยชน์ของใบกระท่อม รักษาโรคบิด ท้องเสีย ท้องเฟ้อ และอาการมวนท้อง บรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามร่างกาย ใช้บดทำเป็นยาสมุนไพรสำหรับพอกรักษาแผล แก้นอนไม่หลับ ช่วยระงับประสาท คลายวิตกกังวล ช่วยให้รู้สึกกระปรี้กระเปร่า รักษาระดับพลังงาน ทำงานได้นานขึ้น

โทษของใบกระท่อม ใบกระท่อมออกฤทธิ์ทางยาที่ช่วยบรรเทาอาการต่างๆ ในเบื้องต้นให้แก่ร่างกายได้ แต่หากกินในปริมาณที่มากเกินไป รวมถึงกินติดต่อกันเป็นเวลานาน ก็จะส่งผลเสียต่อสุขภาพได้เช่นกัน ปัจจุบันมีข้อระวังในกลุ่มที่นำไปใช้ในทางที่ผิด เช่น นำไปต้มเพื่อผสมกับเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ โดยไม่ได้มุ่งใช้ประโยชน์ในทางสรรพคุณของยา สำหรับผู้ที่กินใบกระท่อมมากเกินไป จะมีอาการข้างเคียงดังต่อไปนี้

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

ใครอยากเป็นเศรษฐี คลิก

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

ดื่มน้ำเยอะดีอย่างไร

ดื่มน้ำ มีความเชื่อว่าการดื่มน้ำในปริมาณมาก ๆ ทำให้ร่างกายทำงานได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยในการลดน้ำหนักและบำรุงสุขภาพผิว โดยเฉพาะการดื่มน้ำแร่ เพราะมีข้อมูลที่กล่าวอ้างว่าเป็นน้ำดื่มจากแหล่งธรรมชาติซึ่งอุดมไปด้วยแร่ธาตุนานาชนิด หลายคนจึงเชื่อว่าน้ำแร่ดีต่อสุขภาพร่างกาย มากกว่าน้ำเปล่าหรือน้ำประปาทั่วไป

ดื่มน้ำ น้ำหนักตัวของคนเราประกอบไปด้วยน้ำถึง 60 เปอร์เซ็นต์ ร่างกายอาจสูญเสียน้ำได้จากการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การออกกำลังกาย การดื่มน้ำจึงเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างมาก แต่คนส่วนใหญ่ไม่ใส่ใจกับการดื่มน้ำมากนัก และมักไม่คำนึงถึงปริมาณที่เหมาะสม บ้างก็ดื่มน้ำน้อยเกินไปหรือมากเกินไป จนทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพตามมา อีกทั้งอาจไม่ทราบด้วยว่า หากร่างกายขาดน้ำเพียง 5 วันหรือ 1 สัปดาห์ ก็อาจทำให้เสียชีวิตได้

น้ำเป็นปัจจัยสำคัญต่อกระบวนการทำงานภายในร่างกาย เช่น การล้างสารพิษออกจากอวัยวะ หรือการนำสารอาหารและออกซิเจนไปสู่เซลล์ต่าง ๆ รวมถึงประโยชน์อื่น ๆ ดังต่อไปนี้

                 ลดน้ำหนัก การดื่มน้ำอาจมีส่วนช่วยให้อัตราการเผาผลาญพลังงานแคลอรี่เพิ่มสูงขึ้นบำรุงสุขภาพผิวเป็นส่วนประกอบของน้ำหล่อลื่นข้อต่อเสริมการทำงานของระบบย่อยอาหารขับแบคทีเรียจากกระเพาะปัสสาวะมีส่วนช่วยทำให้อัตราการเต้นของหัวใจปกติควบคุมอุณหภูมิในร่างกายควบคุมความดันโลหิตป้องกันอาการท้องผูกป้องกันความเสียหายของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆรักษาสมดุลของอิเล็กโตรไลต์ (โซเดียม)

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

ใครอยากเป็นเศรษฐี คลิก

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

ประโยชน์ของชาบู

ประโยชน์ ของโปรตีน : ช่วนในการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ สร้างกระดูก กล้ามเนื้อ น้ำย่อย ฮอร์โมน 

ประโยชน์ ต่อเซลล์ผิว มีหน้าที่สร้างใยคลอลาเจนใต้ชั้นผิวหนังในร่างกาย ช่วยให้ผิวมีความยืดหยุ่น และช่วยเชื่อมประสานแต่ละเซลล์ให้ยืดติดกันเป็นเนื้อเดียว ทั้งช่วยปกป้องริ้วรอยก่อนวัยได้ และยังช่วยเพิ่มความแข็งแรงของเซลล์ผมและเล็บของเราอีกด้วย 

ประโยชน์ต่อระบบกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อทุกมัดมีโครงสร้างพื้นฐานจากกรดอะมิโนหลากหลายชนิดเรียงร้อยกันเป็นมัดกล้าม ดังนั้นโปรตีนคุณภาพจึงมีความสำคัญในการสร้ามเนื้อให้แข็งแรง – ประโยชน์ต่อการฟื้นตัวของร่างกายและระบบภูมิต้านทาน โปรตีนคุณภาพมีส่วนช่วยในการทดแทนเซลล์ที่สูญเสียไปในแต่ละวัน ช่วยลดกลไกการแข็งตัวของเลือด รวมทั้งเป็นส่วนประกอบหลักของภูมิคุ้มกันในร่างกายด้วย 

ประโยชน์ต่อระบบย่อยอาหาร เนื่องจากอาหารที่เราทานเข้าไป ต้องใช้เอนไซม์หลายชนิด รวมถึงสารคัดหลั่งจากกระเพาะอาหาร ตับอ่อน และลำไส้เล็ก เพื่อช่วยแปรเปลี่ยนอาหารให้มีหน่วยเล็กลงและสามารถดูดซึมได้ง่าย หากร่างกายได้รับโปรตีนคุณภาพซึ่งเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ในปริมาณที่เพียงพอ ก็จะช่วยให้อาหารต่างๆ ถูกย่อยและดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ  

คาร์โบไฮเดรตจากเครื่องเทศหรือจำพวกแป้ง ประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรต – ให้พลังงานและความร้อน  (  1  กรัม  ให้พลังงาน 4 แคลอรี่ ) – ช่วยสงวนโปรตีนให้ร่างกายนำไปใช้ในทางที่เป็นประโยชน์มากที่สุด – คาร์โบไฮเดรตที่เหลือใช้   เปลี่ยนเป็นไขมันสะสมในร่างกายได้  

แร่ธาตุจากพืชผักต่างๆในชาบู ประโยชน์ของแร่ธาตุ ช่วยในเรื่อง ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ฟัน ช่วยทำให้ผิวพรรณสดใส ช่วยให้ระบบการย่อย และการขับถ่ายเป็นปกติ ตัวอย่างอาหารที่ให้แร่ธาตุ พืช ผัก ชนิดต่างๆ

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

สล็อตโจ๊กเกอร์168วอเลท

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

ข้าวกล้องกับประโยชน์ที่ดีต่อร่างกาย

ข้าวกล้อง ถือเป็นอาหารหลักของคนมากกว่าครึ่งโลกเลยก็ว่าได้ โดยเฉพาะในแถบเอเชียที่มักนิยมกินข้าวเป็นเมนูหลักอยู่เสมอ ทั้งยังเป็นแหล่งของคาร์โบไฮเดรตสำคัญที่ให้พลังงานต่อร่างกาย อุดมไปด้วยโปรตีนและวิตามินต่างๆ มากมาย แต่ในปัจจุบันคนรักสุขภาพนิยมมารับประทานข้าวกล้องกันมากขึ้น เนื่องจากเป็นข้าวที่ไม่ผ่านกระบวนการขัดสี

ข้าวกล้อง จึงทำให้สารอาหารที่อยู่ในข้าวนั้นไม่ได้ลดลงผ่านการขัดสีอย่างข้าวขาวนั่นเอง งั้นรามาดูกันสิว่าประโยชน์ของข้าวกล้องแท้จริงแล้วมีอะไรบ้าง  คุณค่าทางโภชนาการ ข้าวกล้อง (ประมาณ 100 กรัม) พลังงาน : 223 แคลอรี โปรตีน : 2.7 กรัม ไขมัน : 0.98 กรัม คาร์โบไฮเดรต: 25 กรัม ไฟเบอร์ : 1.5 กรัม

สารอาหารและประโยชน์ที่พบได้ในข้าวกล้อง • วิตามินบี ช่วยบำรุงร่างกาย เพิ่มพลังงานให้กับร่างกาย ฟื้นฟูกำลัง ป้องกันอาการอ่อนเพลีย • โฟเลต (กรดโฟลิก) ช่วยให้ร่างกายสร้างเซลล์ใหม่และสามารถป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในร่างกาย 

• แร่ธาตุเหล็กมีส่วนช่วยให้ร่างกายใช้ในการลำเลียงออกซิเจนในเลือด • ซีลีเนียมมีส่วนช่วยระบบภูมิคุ้มกันและควบคุมต่อมไทรอยด์ 

• สารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอความแก่ชรา • มีวิตามินบี 3 ซึ่งบำรุงสุขภาพผิวหนังและลิ้นได้ • มีตามินอี ช่วยบำรุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส

ข้าวกล้องเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แคลอรี่ต่ำ มีเส้นใยสูง ปราศจากกลูเตนและสามารถนำมาประกอบเป็นอาหารได้หลากหลาย สหพันธ์ข้าวสหรัฐอเมริกาให้ข้อมูลว่า

ข้าวกล้องไม่มีไขมันทรานส์หรือคอเลสเตอรอล มีเพียงปริมาณไขมันและโซเดียมเท่านั้น นอกจากนี้ไฟโตเคมีคอลและแร่ธาตุบางชนิดที่พบในเมล็ดข้าวกล้องช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งบางชนิด

ทั้งช่วยปรับปรุงระดับคอเลสเตอรอล ลดความเสี่ยงของโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อีกด้วย

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

เกมออนไลน์เล่นแล้วได้เงินจริง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

ประโยชน์และโทษของการกินเผ็ด

ประโยชน์ จากการกินเผ็ด ช่วยให้ระบบเผาผลาญภายในร่างกายทำงานได้ดีขึ้น เพราะรสชาติเผ็ดร้อนของพริกทำให้ร่างกายหลั่งเหงื่อออกมาเพื่อคลายความเผ็ดร้อน ดังจะเห็นได้ว่าคนบางคนที่กินเผ็ดมากๆ เหงื่อจะท่วมตัวเลย ช่วยระบบทางเดินหายใจ ในช่วงฤดูฝนที่ผู้คนเป็นหวัดคัดจมูกกันบ่อยๆ ก็ได้อาหารรสเผ็ดร้อนนี้แหละค่ะ

ประโยชน์ ที่ช่วยทำให้ระบบทางเดินหายใจของคุณโล่งขึ้นได้ เพราะสารแคปไซซินที่อยู่ในพริกนี่แหละค่ะที่ช่วยลดน้ำมูกและสารที่ขวางระบบทางเดินหายใจของคุณ ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งได้ ในพริกมีวิตามินซีมาก และการกินวิตามินซีมากก็ช่วยในการป้องกันการเกิดมะเร็ง เพราะวิตามินซีจะช่วยยับยั้งการสร้างสารไตรซามีนซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ช่วยลดความเจ็บปวด เช่น อาการปวดฟัน อาการเจ็บคอ และสารแคปไซซินในพริกยังถูกนำไปเป็นส่วนผสมของขี้ผึ้ง

เพื่อใช้สำหรับบรรเทาอาการปวดและคันได้ด้วย นอกจากนี้ยังช่วยลดการอุดตันของเส้นเลือด เพราะความเผ็ดร้อนจะทำให้ระบบโลหิตมีการไหลเวียนดีขึ้นและช่วยลดความดันอีกด้วยผลจากสารแคปไซซิน ช่วยให้รู้สึกสดชื่น ทำให้ร่างกายหลั่งเหงื่อ และช่วยให้ร่างกายผลิตสารเอนดอฟิน แต่การกินเผ็ดมาก ก็ไม่เป็นผลดีกับร่างกายเหมือนกัน ลองมาดูกันว่าการกินอาหารรสเผ็ดเกินไปนั้นมีผลเสียอะไรกับร่างกายบ้าง

โทษจากการกินเผ็ด รสเผ็ดจะช่วยทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตภายในร่างกายทำงานมากขึ้น ดังนั้นจึงไม่เป็นผลดีกับผู้ที่เป็นโรคหัวใจ และยังทำให้คนปกติเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคทางกระเพาะอาหาร เพราะเมื่อกินอาหารรสเผ็ดจัดจ้านเข้าไป จะเกิดกรดในกระเพาะ ถ้ามีกรดมากก็จะทำให้ แสบท้อง ท้องอืด ปวดท้อง เพราะพริกมีสารแคปไซซินซึ่งทำปฎิกิริยากับร่างกาย นอกจากนี้ยังเกิดโรคอ้วนได้อีกด้วย เพราะรสเผ็ดช่วยให้คนเราเจริญอาหาร กินอาหารได้มากขึ้น จึงทำให้เกิดโรคอ้วนได้

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

อยากมีอิสระทางการเงินเชิญทางนี้

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

ไขมันในเลือดสูง ภัยใกล้ตัว

ไขมัน ในร่างกายที่เรากล่าวถึงส่วนใหญ่ หมายถึง โคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคหัวใจและหลอดเลือดตีบตัน ซึ่งอาจเป็นอันตราย ทำให้พิการหรือเสียชีวิตได้ ไขมันในเลือดสูงหมายถึงระดับไขมันในเลือดสูงกว่าปกติ ซึ่งระดับโคเลสเตอรอลปกติไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 มิลลิลิตร และระดับไตรกลีเซอไรค์ ปกติไม่เกิน 150 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 มิลลิลิตร

ไขมัน ในเลือดสูงเลือดจะมีความหนืดสูงกว่าปกติ ทำให้เกิดการสะสมของไขมันตามผนังหลอดเลือดได้ง่าย ทำให้หลอดเลือดตีบแคบลง ทำให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่สะดวก เมื่อนานวันขึ้นอาจเกิดการอุดตันของเลือด

โดยเฉพาะอวัยวะที่สำคัญ เช่น หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจอุดตัน ทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวายและเสียชีวิต เฉียบพลัน หรือ ถ้าเกิดกับหลอดเลือดที่สมองทำให้เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หากไม่หาทางป้องกันแก้ไขภาวะไขมันในเลือดสูง จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆมากมายและมีคุณภาพชีวิตที่แย่ลง

แพทย์สามารถประเมินว่าไขมันในเลือดมีปริมาณที่ผิดปกติได้ โดยการเจาะเลือดตรวจ โดยก่อนเจาะเลือดถ้าหากตรวจหาค่า Triglyceride ด้วย ต้องงดอาหารก่อนเจาะเลือด 12 ชั่วโมง แต่ดื่มน้ำเปล่าได้

แพทย์จะตรวจระดับของโคเลสเตอรอล (Total cholesterol , TC) ในเลือดร่วมกับตรวจหาระดับของไขมันอื่นๆร่วมด้วย ได้แก่ HDL-C , LDL – C , TG เพื่อประเมินการรักษาที่เหมาะสม

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

สล็อตโจ๊กเกอร์วอเลท

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

ผักผลไม้กินทุกวันดีอย่างไร

ผักผลไม้ เป็นที่ทราบกันดีว่าผักและผลไม้นั้นมีประโยชน์มากมายมหาศาล เพราะเป็นแหล่งของวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และมีคุณสมบัติของการเป็นแหล่งใยอาหาร ซึ่งเป็นสารที่ช่วยลดการดูดซึมของคอเลสเตอรอลและไขมัน และยังช่วยทำให้ระบบการย่อย ระบบการขับถ่ายทำงานได้อย่างปกติอีกด้วย นอกจากนี้ผักและผลไม้บางชนิดยังมีสารพิเศษที่ช่วยทำหน้าที่คล้ายยาป้องกันและรักษาโรคบางชนิด             

ผักผลไม้ จากการสำรวจสุขภาพของประชาชนชาวไทย เมื่อปี พ.ศ.2551-2552 ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ผู้หญิงไทยเพียง 18.5% ที่รับประทานผักและผลไม้ได้ตามเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกกำหนด ซึ่งกำหนดให้รับประทานผักผลไม้วันละ 400-600 กรัม

แต่ที่น่าห่วงที่สุด คือ กลุ่มเด็กที่มีอายุ 6-14 ปี พบว่ามีเพียง 6.8% เท่านั้นที่รับประทานผักผลไม้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งการรับประทานผักผลไม้ไม่เพียงพอนั้น จะมีความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคอ้วนเพิ่มมากขึ้น  

หากประเทศไทยยังไม่สามารถจัดการกับปัญหาเหล่านี้ได้ เราจะต้องแบกรับภาระจากปัญหาสุขภาพในระยะยาว เพราะมีรายงานว่า 31% ของคนเป็นโรคหัวใจ, 19% ของคนเป็นโรคระบบทางเดินอาหาร และ 11% ของคนเป็นโรคหลอดเลือดสมอง

มีสาเหตุหลักมาจากการรับประทานผักผลไม้ไม่เพียงพอต่อวัน อีกทั้งพฤติกรรมการรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอนี้ ยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคอ้วนที่กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยภาวะโรคอ้วนที่เพิ่มขึ้นมากกว่า 3 เท่า

ประโยชน์ของผักผลไม้ ผักผลไม้เป็นอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย การรับประทานผักผลไม้เป็นประจำจะช่วยทำให้ร่างกายแข็งแรงมีอายุยืนยาว และมีส่วนช่วยในการเจริญเติบโต

ผักผลไม้มีสารต้านอนุมูลอิสระที่เป็นตัวช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคต่าง ๆ รวมไปถึงโรคมะเร็ง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคมะเร็งลำไส้) ช่วยป้องกันความเสื่อมของอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกาย บำรุงสุขภาพและอวัยวะภายในร่างกาย

การรับประทานผักผลไม้เป็นประจำจะช่วยทำให้ระบบขับถ่ายสามารถทำงานได้อย่างเป็นปกติ และช่วยป้องกันโรคท้องผูกได้ ผักผลไม้บางชนิดยังสามารถใช้เป็นยาสมุนไพรเพื่อบำบัดและรักษาโรคบางชนิดได้อีกด้วย เช่น ไข้หวัด ร้อนใน โรคมะเร็ง โรคหัวใจ ตาฝ้าฟาง แผลอักเสบ เหน็บชา เป็นต้น ผักผลไม้บางชนิดก็เป็นตัวช่วยในการลดน้ำหนักหรือควบคุมน้ำหนักได้เป็นอย่างดี เช่น กล้วย แอปเปิ้ล มะละกอ ผักสลัด ถั่ว หน่อไม้ฝรั่ง อะโวคาโด เป็นต้น

การรับประทานผักผลไม้สามารถช่วยพัฒนาสมอง เสริมสร้างความจำ และเป็นอาหารสมองได้เป็นอย่างดี เพราะสารอาหารที่มีผลต่อการทำงานของระบบประสาท มักจะพบได้ในอาหารจำพวกผักใบเขียว ผลไม้ และธัญพืชต่าง ๆ ช่วยบำรุงสายตา ผักผลไม้บางชนิดจะมีวิตามินสูง

สารอาหารที่ชื่อว่าลูทีน (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin) เป็นสารอาหารที่สำคัญในการบำรุงสายตา โดยผักผลไม้ที่วิตามินเอสูง ได้แก่ แครอท ฟักทอง ผักบุ้ง ผักคะน้า ตำลึง มะละกอ มะม่วงสุก เป็นต้น

การรับประทานผักผลไม้ก็ทำให้ผิวพรรณของคุณดูสวยงามขึ้นได้ เพราะนอกจากจะช่วยทำให้มีหุ่นเพรียวสวยแล้ว ผักผลไม้บางชนิดยังอุดมไปด้วยวิตามินซีและวิตามินอี ซึ่งเป็นอาหารผิวที่มีส่วนช่วยในการบำรุงผิวพรรณ กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตของผิว ทำให้ผิวพรรณมีเลือดฝาด ผิวดูมีสุขภาพดีและเรียบเนียน อีกทั้งยังช่วยในการสังเคราะห์คอลาเจนในเซลล์ จึงช่วยทำให้ผิวแน่นและยืดหยุ่น เต่งตึง ไม่เหี่ยวย่นก่อนวัยอันควรได้เป็นอย่างดี

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

มีอิสระทางการเงินไม่ใช่เรื่องยาก

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

น้ำขิงดื่มทุกวันยิ่งดี

น้ำขิง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพอีกชนิดที่ไม่ควรพลาดด้วยประการทั้งปวง เพราะประโยชน์ของขิงเด็ดดวงจริง ๆ ยิ่งดื่มเป็นประจำจะช่วยแก้ได้หลายอาการเลย  ขิงเป็นสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ที่บ้านเราใช้ทั้งทำอาหาร ใช้เป็นส่วนประกอบของยาสมุนไพร หรือนำมาทำเป็นเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มแก้กระหายก็ได้ และหากใครกำลังมองหาเครื่องดื่มที่จะช่วยเพิ่มความเฮลธ์ตี้ได้อย่างเต็มที่ แนะนำเป็นน้ำขิงแก้วนี้นี่ล่ะค่ะ เพราะขิงมีสรรพคุณแจ่ม ๆ

น้ำขิง ช่วยย่อยอาหาร แก้อาการท้องอืด  สารประกอบฟีโนลิกในขิงมีส่วนช่วยบรรเทาอาการระคายเคืองในลำไส้ พร้อมทั้งยังมีฤทธิ์กระตุ้นการทำงานของระบบย่อยอาหาร นอกจากนี้ขิงยังมีฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้อย่างอ่อน ส่งผลให้อาการท้องอืด แน่นท้อง และอาการท้องเฟ้อบรรเทาลงได้

ฤทธิ์ร้อนของขิงเป็นยาแก้อาการคลื่นไส้ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอาการคลื่นไส้ที่เกิดจากความผิดปกติของกระเพาะอาหารและลำไส้ ที่ได้รับสารเคมีหรืออาหารแสลงบางอย่างมา นอกจากนี้ผลการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร Support Care Cancer เมื่อปี 2012 ยังบอกด้วยว่า การดื่มน้ำขิงเป็นประจำทุกวันจะสามารถลดอาการคลื่นไส้ในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยเคมีบำบัดได้ด้วยนะคะ

ผลการศึกษาของนักวิจัยชาวญี่ปุ่นที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Pharmaceutical Society of Japan ในปี 2008 พบว่า ขิงมีส่วนช่วยเพิ่มการทำงานของระบบเผาผลาญในร่างกาย ทำให้ร่างกายสามารถเผาผลาญไขมันได้มากกว่าปกติ จึงมีส่วนช่วยลดน้ำหนักได้ นอกจากนี้น้ำขิงอุ่น ๆ ยังสามารถช่วยในเรื่องระบบขับถ่าย ลดอาการท้องผูก รวมทั้งลดระดับฮอร์โมนคอร์ติซอล ซึ่งเป็นสาเหตุของความเครียด อันเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ร่างกายบริโภคไขมันมากขึ้นจนทำให้น้ำหนักขึ้นได้อีกด้วย

จากการทดลองน้ำที่ได้จากการแช่ขิงพบว่า น้ำขิงสามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและพยาธิชนิดต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งสารจิงเกอร์รอลในขิงยังมีอานุภาพมากพอจะลดโอกาสติดเชื้อต่าง ๆ ของร่างกายได้โดยเฉพาะหากเราดื่มน้ำขิงเป็นประจำทุกวัน สารจิงเกอร์รอลจะต่อสู้กับเชื้อไวรัสโรคหวัดและอาการไข้ได้อย่างเต็มที่ เราก็จะมีสุขภาพที่ดีห่างไกลจากโรคหวัดได้ง่าย ๆ

ขิงอุดมไปด้วยสารต้านการอักเสบ และสารต้านอนุมูลอิสระก็ค่อนข้างสูงนอกจากนี้ในขิงยังมีสารจิงเกอร์รอล (Gingerol) ซึ่งมีฤทธิ์รุนแรงกว่าแอสไพริน และยังมีฤทธิ์ต้านการอักเสบภายในร่างกาย ดังนั้นหากดื่มน้ำขิงเป็นประจำ ก็จะช่วยป้องกันการอักเสบในร่างกายได้อีกทางหนึ่ง

อ่านบทความเพื่อเช็ค อาหารกับโรคมะเร็ง

ช่องทางรวยได้ง่ายๆ

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น

อาหารกับโรคมะเร็ง

อาหาร กับโรคมะเร็ง  เป็นโรคของเซลล์หรือเนื้อเยื่อในร่างกายเป็นก้อนหรือเป็นตุ่มที่โตขึ้นผิดปกติเรียกว่า ”เนื้องอก” ซึ่งเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วกลายเป็นก้อนมะเร็ง  สามารถทำลายเนื้อเยื่อใกล้เคียงและแพร่กระจายไปอวัยวะส่วนอื่นๆของร่างกายได้ เป็นโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอนแต่มีปัจจัยหลายอย่างที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุหรือแนวโน้มทำให้เกิดโรคมะเร็งได้แก่ อาหาร  สารเคมี  ฮอร์โมน พันธุกรรม การติดเชื้อเรื้อรัง  ภาวะทุพโภชนาการ ฯลฯ

อาหาร ที่บริโภคเป็นปัจจัยหนึ่งที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็ง ซึ่งหมายถึงสารก่อมะเร็งในอาหารชนิดต่างๆ ที่บริโภคเข้าไปแล้วสะสมในร่างกาย  โดยสารก่อมะเร็งในอาหารแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือฟลาวัส3  1. สารก่อมะเร็งที่เกิดในธรรมชาติ  คือ  

เชื้อราที่เจริญเติบโตในอาหารแล้วสร้างสารพิษขึ้นทำให้เกิดโรคมะเร็ง เช่น  เชื้อรากลุ่ม แอสเปอร์จิรัส เฟลวัส (Aspergillus  Flavus) ที่พบทั่วไปในอากาศและสร้างสารพิษ แอฟฟลาทอกซิน (Aflatoxin) 

ซึ่งทำให้เกิดโรคมะเร็งที่ตับเชื้อราชนิดนี้มักขึ้นในอาหารต่างๆ ที่เก็บไม่ดีมีความชื้นสูง  โดยเฉพาะถั่วลิสง  พริกป่น หอม กระเทียม ข้าวโพด  ขนมปัง ฯลฯ และเชื้อราชนิดนี้ ไม่สามารถทำลายได้ด้วยความร้อนที่ใช้ในการประกอบอาหาร จึงควรหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารที่ขึ้นรา  

2. สารก่อมะเร็งที่เกิดขึ้นโดย การเติมแต่งหรือจากการกระทำของมนุษย์  เช่น การใช้สีย้อมผ้าในอาหาร หรือใช้สีผสมอาหาร (ชนิดสีสังเคราะห์) ในปริมาณมากเกินไป การใช้สารเคมีพวกยาฆ่าแมลงในปริมาณมากก่อให้เกิดปัญหาการตกค้างในผัก ผลไม้ ต่าง ๆkai2

3. สารก่อมะเร็งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการประกอบอาหารและถนอมอาหาร  เช่น  การปิ้ง  ย่าง  รมควัน  และทอดอาหารจนไหม้เกรียม  โดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูงเพราะเมื่อได้รับความร้อนสูงจะเกิดสารชนิดหนึ่ง เรียกว่า  PAH (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons) ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้  และการถนอมอาหารหรือเปลี่ยนลักษณะอาหาร  

โดยมีการเติมสารเคมีลงไป  เช่น  การเติมดินประสิว หรือเติมไนเตรทและ ไนไตรท์ในเนื้อเค็ม  ปลาเค็ม ปลาส้ม แหนม ไส้กรอก ฯลฯ  ซึ่งสารไนไตรท์จะทำปฏิกิริยากับสารอะมีนที่มีอยู่ในเนื้อสัตว์  ทำให้เกิดสารใหม่ที่เรียกว่า “ไนไตรซามีน” ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งที่ตับและกระเพาะอาหาร  จึงควรหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารเหล่านี้หรือถ้าบริโภคก็ไม่ควรบริโภคบ่อยๆหรือบริโภคในปริมาณมากเกินไป

อ่านบทความเพื่อเช็ค ดวงราศีไหนมีเกณฑ์ถูกหวย

โจ๊กเกอร์วอเลท

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * 

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * ** * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โพสท์ใน Default | ใส่ความเห็น